วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Lacture Note

 Types of Information Sources
Magazine             นิตยสาร เป็นประจำ มีกำหนด แน่นอน เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน รายไตรมาส รายหกเดือน รายปี
Periodicals (Serials)        สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
Volume(V./Vol)                ปีที่
Number (No.)    ฉบับที่
ISSN      (International Standurd Serials Number) เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร
หนังสือพิมพ์
-ระดับท้องถิ่น
-ระดับชาติ: ไทยรัฐ
-ระดับนานาชาติ:Washingtao Post ,New York Time
วัสดุย่อส่วน(Microform)
-ไมโครฟิล์ม
-ไมโครฟิช
-ไมโครการ์ด
หอสมุดแห่งชาติใช้จัดเก็บหนังสือพิมพ์
สารานุกรม           เป็นหนังสืออ้างอิงชนิดหนึ่ง (อ,Ref:Reference) ซึ่งให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความเป็นมาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยสังเขป แบ่งออกเป็น
                                -ทั่วไป ให้ความรู้ครอบคลุมในหลายๆเรื่อง เช่น Americana ,สารานุกรมไทย
                                -เฉพาะวิชา เช่น ด้านวัฒนธรรม,ด้านพืชสมุนไพร



             

วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Lecture 16/12/10

Copyright        ลิขสิทธิ์
Contents          สารบัญ
Glossary          อภิธานศัพท์
Index               ดัชนี (มีส่วนคล้ายสารบัญ)
ดัชนี   จะมีตัวเลขด้านหลัง จะละเอียดกว่าสารบัญ แต่สารบัญไม่ลงลึกเท่าตัวดัชนีอภิธานศัพท์กับดัชนี จะอยู่ท้ายเล่ม
ข้อมูลครบถ้วนต้องดูหน้าลิขสิทธิ์จะได้ข้อมูลทั้งหมด
ระบบดิวอี้ เป็นระบบที่ใช้งานกับห้องสมุดเล็กๆ

OPAC (Online Public Access Catalogs )
            ใช้ค้นหาทรัพยากรในห้องสมุดเท่านั้น เช่น หนังสือ,วารสาร,นสพ.,หนังสืออ้างอิง,แผ่นซีดี,เทปโทรทัศน์
ISBN เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ
ISSN  เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร
Edition            ครั้งที่พิมพ์
Series              ชุด,เป็นชุดๆ
Imprint           พิมพม์ลักษณ์ (เมืองที่พิมพ์,สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์,ปีพิมพ์)

วันพุธที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2553

LECTURE NOTES วันที่ 9/12/ 2553

LECTURE  NOTES                                                                                                                            
            OPAC  คือระบบสืบค้นข้อมูล  หรือเครื่องมือสืบค้นหมวดหนังสือแต่ละหมวดจะเรียงตั้งแต่น้อยไปหามาก เช่น 000-999 แต่ละหมวด อาจารย์ผกายมาศ  เป็นผู้รับผิดชอบ
                ในห้องสมุด ของมหาวิทยาลัยมีวิทยานิพนธ์ทางด้านการเกษตรมากเพราะมหาลัยของเราเมื่อก่อนจะเน้นทางด้านการเกษตรโดยตรง   ประเภทของ นวนิยาย จะไม่มีเลข หนังสืออ้างอิง เก่ามีราคาแพง ไม่ให้ยืมออก เช่น สารานุกรม ที่ให้ความรู้ทั่วไป                                                                                                                                                                                        

วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Lecture

ที่มาของการทำโปรเจ็ค
                                -อาจารย์ผู้สอน
                                -นักศึกษา
                เงื่อนไขในการทำโปรเจ็ค
                                -เนื้อหาไม่น้อยกว่า 10 แผ่น (A4)
                                -มีข้อมูลจากหนังสือ วารสาร และเว็บไซต์
                ข้อควรคำนึงในการเลือกหัวข้อ
                                -ไม่กว้างไม่แคบจนเกินไป เหมาะสมกับปริมาณเนื้อหาและระยะเวลาในการทำ
                                -มีแหล่งข้อมูลเพียงพอ
                                -จะต้องได้แรงบันดาลใจจากภาพยนตร์ที่ชมไป
                                -ต้องไม่ซ้ำกัน

*พยายามตั้งคำถามกับตัวเอง ..
เจาะประเด็นลงไป..
ทำให้ระยะเวลาลดลง หัวข้อแคบลง ถ้ากว้างก็หาเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ข้อคิดที่ได้จากการชมภาพยนตร์

ข้อคิดที่ได้จากการชมภาพยนตร์

1.ท้อแต่อย่าถอย
2.ความรักเอาชนะทุกสิ่ง
3.ทุกปัญหามีทางแก้ไขถ้าเราคิดที่จะทำ
4.เพื่อนคือทุกอย่าง
5.ต้องรู้จักปล่อยวาง
6.อะไรที่มันอาจจะใช่มันอาจจะตรงข้าม
7.ความพอดีจะทำให้เรามีความสุข
8.โกหกเป็นบ่อเกิดแห่งทุกข์
9.มีน้อยใช้น้อยมีมากก็ใช้น้อย
10.อย่ายึดติดกับวัตถุ

   โดยนางสาวณัฐวดี  โพธิ์คำ SME.1/1 เลขที่ 18